สื่อคณิตศาสตร์

วันพุธที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13


บันทึกครั้งที่ 13
วันจันทร์ 27 เมษายน 2563 เวลา 08:30-12:30 น
เนื้อหา
     ทบทวนแผนการเรียนรู้เดิมในเเต่ล่ะกลุ่ม ชี้ให้เห็นว่ามผิดพลาดมากขึ้น เเละไขอย่างตรงจุดก่อนที่จะส่งเพราะยังมีข้อผิดพลาดบ้างส่วน 
สอนเรื่องการสอนเด็กในวันอังคาร เรื่องลักษณะ ต้องทำเป็นลำดับขั้นตอนของการสอน
             1.ตั้งปริศนาคำทายให้เด็กตอบ และถามชื่อของ  หน่วยนั้นๆ เช่น ชื่อกล้วยชนิดต่างๆ
             2.ให้เด็กลองสังเกตลักษณะด้วยตาของเด็กเองก่อน เช่น รูปทรงเเละสี เป็นลำดับแรก ถามเด็กและเมื่อเด็กตอบบันทึกลงในตารางหรือกราฟที่ทำ
             3.ให้เด็กได้ลองสัมผัสพื้นผิว ดมกลิน และชิม พร้อมถามเด็กและบันทึกลงในตารางหรือกราฟ
             4.ต้องมีการสรุป เเต่ละหน่วยแต่ละชนิดมีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
(ใช้ลักษณะของปากาเเทน หน่วย ผลไม้ในการอัดคลิป)



คำศัพท์ 
1.  Luck           ลักษณะ
2.  Interview    สัมผัส
3.  Rrcord        บันทึก

ประเมิน
ประเมินอาจารย์  อาจารย์พยายามที่จะอธิบายเป็นรายกลุ่มเเละเเนะนำวิธีอย่างระเอียดเข้าใจจะได้นำไปปรับเเก้ได้
ประเมินเพื่อน     เพื่อนมีความตั้งใจเรียนเเละถามเมื่อสงสัย
ประเมินตนเอง    จดข้อเเก้ไขตั้งใจอย่างดี

วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2563

สาธิตวิธีการสอนคณิตศาสตร์ วันจันทร์

                    

        สาธิตวิธีการสอนคณิตศาสตร์ วันจันทร์🧸


           

วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12



 เนื้อหา 
                            เริ่มต้นการเรียนด้วยเพลงที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ว่าเนื้อหาเพลงนี้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ กับเด็กอย่างไร
เพลง  หนึ่งปีมีสิบสองเดือน   เพลงจัดเเถว  เพลงเข้าเเถว

 เพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน   ให้รู้ถึง วันหนึ่งมี 24  วันในสัปดาห์ 1 มี 7 วัน   1 ปี มี 12  เดือน วันพรุ่งนี้วันนี้  เทศกาล ใน 1 ปี ในเเต่ล่ะเดือน
 เพลงจัดเเถว เพลงเข้าเเถว   การเปรียบเทียบ  รู้ถึงลำดับก่อนเเละหลัง ทิศทาง เท่ากับเสมอกัน 






และทบทวนเนื้อหากับเรื่องเเผนการเเก้เเผนการเเก้ไขเนื้อหาเพิ่มเติม   การใช้คำสะท้อนการเรียนรู้เพิ่มเติมในเนื้อหา   คำว่า  บอก  อธิบาย  นำเสนอ  วาด  ปั้น  ประดิษฐ์  วิพากษ์ 

พร้อม ให้ปรับเเก้แผนระหว่างพักพร้อมให้เตรียมอุปกรณ์ที่จะให้สอนเป็นตัวอย่าง 
มี อุปกรณ์ เเละขั้นตอนการสอนดั้งนี้  สิ่งของที่เหมือนกัน 4 ชิ้น  3 ชิ้น  2 ชิ้น  เเละเอากระดาษตัดเป็นวงกลมเขียนเลข 9 ติดไว้กับไม้  ข้าวสารใส่ในเเก้ว กระดาษเอ 4   


ขั้นตอนการสอน 
1.  เพลง                             เครื่องเขียน                 เครื่องเเขน 
                                 มีหลายชนิด                         ปากา  ดินสอสี
                                     เด็ก เด็ก รู้มั้ยหน้อ            เครื่องเขียนมีหลายชนิด
( ร้องให้เด็กฟังก่อน,เด็กร้องตาม,เเละครูเเละเด็กร้องพร้อมกัน )

2.  ถามกับเด็ก ว่าในเพลงพูดถึงเครื่องเขียนอะไรบ้าง  /นำไปทำ My map ว่าเด็กๆตอบว่าอะไร
3.  นำเเก้วใส่เครื่องเขียนให้เด็กๆได้ดู พร้อมตั้งคำถามเด็ก  เด็กๆว่าในเเก้วมีเครื่องเขียนทั้งหมดกี่เเท่ง
4.  หยิบเครื่องเขียนมาทีละอัน พร้อมบอกว่า ที่หยิบมานั้นเป็นอะไรเเละนับเลขระหว่างนับ /ปากาหรือดินสอ 
5.  พร้อมถามกับเด็กว่า  มีเครื่องเขียนทั้งหมดกี่เเท่ง?  /พร้อมบอกเด็กๆว่าขอตัวเเทนที่จะไปหยิบตัวเลขที่สัมพันกันกับที่เรานับเครื่องเขียนเมื่อสักครู่
/หยิบตัวเลขมาปักไว้ที่ด้านหลัง ปากาหรือดินสอ
6.  จัดหมวดหมู่โดยใช้เกณฑ์เครื่องเขียนที่เป็นปากา /กลุ่มปากา /ใช้เกณฑ์อื่เเทนได้
ครูขอตัวเเทนออกมาหยิบปากาออกไปหน่อยได้มั้ยค่ะ/หยิบออก
 (พร้อมบอกว่านี้คือกลุ่มที่เป็นปากาเเละไม่เป็นปากา)
7. ถามเด็กว่า เด็กๆลองดูสิว่ากลุ่มไหนมีจำนวนมากกว่ากัน /เด็กตอบ...เอ๊ะเรามาดูว่ากลุ่มไหนมากกว่ากัน
8. ขอตัวเเทนมาหยิบออกมาหยิบ 1:1  /หยิบออกไปเรื่อยๆจนเหลือ 1 เเท่ง เเละจะเหลื่อจำนวนเครื่องเขียนที่มากกว่าหรือน้อยกว่า  
9. นำ My map ที่เขียนตอนเเรกมาให้เด็กทบทวนว่ามีเครื่องเขียนอะไรบ้าง
  คำศัพท์  
1. Draw         วาด 
2. Science     อธิบาย
3. Lead         นำเสนอ
4. Artificial   ประดิษฐ์
5. My map    ผังความคิด


ประเมิน
ประเมินอาจารย์        อาจารย์พูดเร็วเป็นบางครั้งเเต่อาจารย์ทบทวนเเละถามทุกครั้งเเละมอบหมายงานทำให้เข้าใจเเละเห็นภาพมากขึ้น
ประเมินเพื่อน            ตั้งใจฟังเเละตอบคำถามอย่างตั้งใจ
ประเมินตนเอง          ไม่ค่อยเข้าเเต่พยายามถามเพื่อนเเละอาจารย์ซ้ำๆตลอด 



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11





บันทึกการเรียนครั้งที่  11 
วันจันทร์ ที่ 13  เมษาคม   พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 



เนื้อหาที่เรียน 

  สอนเพิ่มเกี่ยวกับการเเก้ไขเเผนการจัดประสบการณ์จากสัปดาห์ที่เเล้วเนื่องจากต้องเพิ่มเติมเนื้อหาเเต่ตารางการเปรียบเทียบเพื่อให้เข้าใจง่ายมากขึ้นหรือให้สอนง่ายขึ้น

     เนื้อหา นั้นเราต้องสอนให้เด็กได้รู้อะไร ทำอะไร สาระที่เด็กควรได้รับต้องสอดคล้องกันทั้งหมด        

  ขั้นสอนเราต้องเพิ่มเติมคือ พูดถึงสัดส่วนต่างๆให้มากขึ้น (สันส่วนของหน่วย เช่นหน่วยกล้วย สัดส่วนของกล้วยมีอะไรบ้าง ) เเละมอบหมายให้ไปเเก้ใขข้อมูลให้ถูกต้อง


คำศัพท์
1. Assign.       มอบหมาย
2. Modify        เเก้ไข 
3. More           เพิ่มเติม
4. Matter         สาระที่ได้รับ
5. Correct.      ถูกต้อง



การประเมิน
ประเมินอาจารย์   อาจารย์สอนเร็วบางทีเเละให้นักศึกษามีสวนร่วมถามตอบไม่ให้น่าเบื่อค่ะ
ประเมินเพื่อน      ตั้งใจตอบคำถามเเละมีส่วนรวมกับอาจารย์ทุกครั้ง
ประเมินตนเอง     ตั้งใจเเละจดเนื้อหาที่จะต้องปรับเเก้อย่างตั้งใจ




วันอังคารที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

บันทึกการเรียนครั้งที่ 10


บันทึกการเรียนครั้งที่ 10 
วันจันทร์ ที่  30  มีนาคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 น.

เนื้อหาที่เรียน 
       เเก้เเผนการจัดประสบการณ์จากเดิมให้มีเนื้อหาสาระเข้ามาเพิ่มเติมจากที่ไม่สมบรูณ์
                         ****  ออกแบบให้เหมาะสมกับพัฒนาการเเละวิธีการของเด็ก  *****
เเผนการจัดประสบการณ์ หน่วยกล้วย

สาระการเรียนรู้มาจาก    
   - หลักสูตร (ประกอบด้วย)  
      1. ประสบการณ์สำคัญ
      2. สาระที่ต้องเรียนรู้ 

ประสบการณ์สำคัญ   
    -  นำมาจากหลักสูตร์และนำมาปรับให้เข้ากับหน่วยการเรียนรู้ของตนเองอย่างเหมาะสม

 เนื้อหา  
      - เด็กได้เรียนรู้อะไรทำอะไรได้บางจากการจัดประสบการณ์ในหน่วยนี้

 ขั้นนำ  
        -  เป็นการนำเด็กเข้าสู่เนื้อหา เช่น เเผนจัดประสบการณ์วันศุกร์ นำเด็กเข้าสู่อุปกรณ์ของการทำกล้วยบวชชีพูดคุยเเละตั้งคำถามที่เด็ก  สามารถเเสดงความคิดเห็นยอดกลับไปสู่ความรู้เดิมให้เกิดความรู้ใหม่ได้  เช่น  นอกจากนำกล้วยมาทำกล้วยบวชีเด็กๆคิดว่าสามารถนำมาทำอะไรได้อีก  อุกรณ์เหล่านี้เราจะนำมาทำอะไร อาจมีการนำเกม นิทาน ปริศนาคำทาย เข้ามาใส่ในเเต่ล่ะวัน ให้เด็กเกิดอยากตื่นเต้นอยากเรียนรู็ 

  ขั้นสอน 
       - พูดถึงเนื้อหาที่จะทำ สัดส่วนต่างๆ
       - เด็กได้ลงมือทำ
       - สามารถเเบ่งกลุ่มได้ (ถ้ากรณีที่เด็กเยอะเเละผู้ดูเเลเพียงพอ)
 ขั้นสรุป 
       - ครูเเละเด็กทบทวนต่างๆ

 สื่อเเละเเหล่งเรียนรู้
       - เเต่ล่ะวันก็จะเเตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะนิทาน  เพลง รูปภาพประกอบ อุกรณ์ต่างๆ 

การวัดผลประเมินผล
       - เด็กเกิดการพัฒนาอย่างไรบ้าง
การบูรณาการ
       - จากหน่วยการเรียนรู้การจัดประสบการณ์เด็กได้อะไรจากการบรูณาการในสาระคณิตสตร์ เช่น การเปรียบเทียบ  ขนาด  การคาดเดา  รูปร่างรูปทรง อื่นๆ

   เเผนที่ปรับเเก้   

 -ปรับเเก้ตรงเนื้อหาที่ต้องเพิ่ม   เพิ่ม 6 กิจรรม ซึ่งเเผนเดิมไม่มีทั้ง 6 กิจกรรม 
 -กลางเเจ้ง  เคลื่อนไหวจังหวะ  สร้างสรรค์   เกมการศึกษา  เเละกิจกรรม เสรี
 -เนื้อหาสาระ เเก้ไขให้ถูกต้องเข้ากับหน่วยเเละการสอน  

  คำศัพท์  
1.  Tale       นิทาน
2.  Course of  study  หลักสูตร   
3.  Previous konwledge  ความรู้เดิม
4.  Learning unit    หน่วยการเรียนรู้
5.  Substance        สาระการเรียนรู็

  ประเมิน  
ประเมินอาจารย์   สอนได้ดีค่ะพยายามอธิบายเรื่องที่นักศึกษาไม่เข้าใจเเละให้นักศึกษามีส่วนร่วม
ประเมินเพื่อน       ตั้งใจตั้งใจฟังอาจารย์
ประเมินตนเอง      ตั้งใจฟังเเละจดเท่าที่ทันหรือเข้าใจเนื่องจากปัญหาจากโทรศศักพ์ร้อน บางแบตจะหมดในบางทีเลยจะต้องว่างไว้หรือเพิ่มเเบตในเวลาเรียนอาจจะสนใจไม่พอ



เพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน






เพลง 1 ปีมี  12  เดือน







หนึ่งปี นั้นมี สิบสองเดือน
อย่าลืมเลือน จำไว้ ให้มั่น
หนึ่งสัปดาห์ นั้นมี เจ็ดวัน
อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ
พฤหัส ศุกร์ เสาร์
หนึ่งปี นั้นมี สิบสองเดือน
อย่าลืมเลือน จำไว้ ให้มั่น
หนึ่งสัปดาห์ นั้นมี เจ็ดวัน
อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ
พฤหัส ศุกร์ เสาร์

    มาร้องเพลงกันเยอะนะคะ