สื่อคณิตศาสตร์

วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4






บันทึกการเรียนครั้งที่ 4 
วันจันทร์ ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 น.


เนื้อหาที่เรียน 


            การจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก ต้องคำนึกถึง พัฒนาการของเด็กและวิธีการ "หรือคำว่าเล่น"

                  การที่จะจัดประสบการณ์กับเด็กควรเอาสิ่งที่เป็นรูปธรรมมาก่อนนามธรรม ให้เด็กจับต้องในสิ่งที่จับต้องได้ก่อนเสมอ  เช่น  ของเล่นที่เป็น 3 มิติ 2 มิติ และอื่นๆ
  


ของจริง →  ภาพ →  รหัส

คณิตศาสตร์อยู่ในชีวิตประจำวัน 

             เรื่องที่เด็กจะต้องรู้ในคณิตศาสตร์   เทคนิคต่างๆในการจัดประสบการณ์
  • เพลง    
  • นิทาน
  • คำคล้องจ้อง
  • ปริศนาคำทาย
  • บทบาทสมมุติ
  • แผ่นภูมิภาพ
  • การประกอบอาหาร
เด็กนั้นจะต้องได้ลงมือทำเองเพื่อเกิดทักษะเเละเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง

่้ี
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ

การบอกอันดับที่ของสิ่งต่างๆ เเละการนับจำนวน หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า จะต้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นให้เด็กก่อน แล้วจึงจะจัดอันดับ การรวมตัวเป็นการนับจำนวนต่างๆ สองกลุ่ม ได้ผลรวมมากขึ้น


สาระที่2 การวัด

การวัดความยาว ความสูง ของสิ่งต่างๆเป็นการหาความยาวตามเเนวนอน การวัดความสูง เป็นการหาความยาวเเนวตั้ง ความกว้าง ปริมาตร การหาค่า ใช้เครื่องมือเพื่อหาค่า ใช้เครื่องมือที่กลากหลายเเตกต่างกันไปเเละจะต้องให้เด็กมีส่วนร่วมด้วย เช่น การใช้มือ เเขน สิ่งรอบตัวในห้องเรียน ในการวัด ↔    ↕  
การวัดอาจใช้เครื่องมือวัดที่มีหน่วยไม่ใช่น่วยมาตรฐาน


สาระที่3 เราขาคณิต

เกี่ยวกับทิศทาง ตำเเหน่ง หน้าหลัง ข้างนอก ข้างใน ระหว่าง ซ้ายขวา ใกล้ ไกล ระยะทาง เเละการจำเเนกรูปทรงรูปร่างต่างๆ

สาระที่4 พีชคณิต

แบบรูปเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุดรูป อนุกรม ของจำนวนรูปเรขาคณิตหรือสิ่งต่างๆ เช่น  ◆  ❤ ....... ◆  

สาระที่5 การวิเคราะห์จข้อมูล และความน่าจะเป็น

การสังเกต รวบรวม การสอบถาม เช่น ให้เด็กนำผลไม้มาว่างเพื่อต้องการรวบรวมว่าในห้องเรียนเด็กชอบกินอะไรมากที่สุดนำเสนอเป็นกราฟกราฟก็จะเเสดงจำนวนยังสามารถ เเละสามารถเปรียบจำนวนได้ว่าอันไหนน้อยสุดเเละมากที่สุด  กราฟมีหลากหลายเราจะต้องเลือกกราฟให้เหมาะสมกับการสำรวจเเละวิเคราะห์ 


สาระที่6 ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์

          เด็ก จะเริ่มใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์   8 + 5 = 3  ก่อนที่เด็กจะใช้ขั้นจะเป็นขั้นปลายจนกว่าเด็กจะผ่านขั้นอนุรักษ์ เด็กจะต้องมีเหตุหรือรู้จักคิดเเบมีเหตุผล

    ❤   เราสามารถนำเพลงมาจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กได้   
คำศัพท์ 


  1. Division               การเเบ่ง
  2. Difference           ผลต่าง
  3. Deometry            เลขาคณิต 
  4. Series                 อนุกรม
  5. Order                  ลำดับ



การประเมิน  
                       ประเมินอาจารย์     สอนอย่างอย่างระเอียดเเละอธิบายเนื้อหาที่สอนอย่างเข้าใจง่าย
                       ประเมินตนเอง      ตั้งใจฟังกับสิ่งที่สอนเป็นอย่างดีเเละมีส่วนร่วมในการตอบคำถามให้มากที่สุด
                      ประเมินเพื่อน        เพื่อนตั้งใจฟังเเละให้ความร่วมมือในการมีส่วนร่วมตอบคำถามทุกครั้ง
                      
  

















วันจันทร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2563

สรุปตัวอย่างการสอน


สรุปตัวอย่างการสอน





สรุปตัวอย่างการสอน

  เรื่อง    การจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  






             กิจกรรมควรออกแบบให้กระตุ้นความคิดทางคณิตศาสตร์    ช่วยให้เด็กรู้สึกสบายๆ กับการแก้ปัญหา สร้างความรักความชอบต่อการทำคณิตศาสตร์ และกิจกรรมต้องเน้นเด็กเป็นศูนย์กลางเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับเด็ก เน้นการประสบการณ์ของเด็กเป็นรายบุคคล ปัญหาและคำตอบจะนำมาใช้ในแง่การวิเคราะห์และประเมินผล โดยการรวบรวมข้อมูลโดยตัวเด็กเองกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับนิทาน เรื่องราวที่เป็นสถานการณ์เชื่อมโยงไปสู่การแก้ปัญหา ได้ทำกิจกรรมที่ช่วยให้เกิดการแก้ปัญหา


          กิจกรรม   จะต้องกระตุ้นเด็กให้ใช้คณิตศาสตร์แก้โจทย์ปัญหา  ได้ใช้การสื่อสารอธิบายความคิดทางคณิตศาสตร์ และสร้างแนวทางการใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ทำให้เด็กมีกิจกรรมที่มีความหมายในการสร้างสังคมของเด็ก ได้เชื่อมโยงประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์กับวิชาอื่นๆ ในโลกแห่งความจริง ได้รับการกระตุ้นให้เกิดการสื่อสาร โดยผ่านการตั้งคำถามและโต้ตอบเกี่ยวกับความคิดทางคณิตศาสตร์ และให้มีกิจกรรมเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ เช่น 

1.  ให้ทำกิจกรรมเกี่ยวกับการแยกสี 
2.  แยกจำนวนนับ หรือภาพแสดงข้อมูล 

ซึ่งจะช่วยสร้างทักษะการเรียงลำดับ การจัดประเภท การเปรียบเทียบความเหมือน ความต่าง ในขณะที่เด็กรวบรวมข้อมูลและจัดการกับข้อมูล ได้ทำการเปรียบเทียบและสรุปผล อาจทำกิจกรรมเป็นกลุ่มและรายบุคคล รวมถึงการทำการสำรวจสิ่งแวดล้อม ห้องเรียนและโรงเรียน มีกิจกรรมการจัดกลุ่มสิ่งของ การนับ การเเยกสีจากฝา  และใช้วิธีต่างๆ ในการรวบรวมข้อมูลและแสดงข้อมูล




         
















บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3





บันทึกการเรียนครั้งที่ 3 
วันจันทร์ ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 น.


เนื้อหาที่เรียน 

ประโยชน์ของคณิตศาสตร์
          - ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน คณิตศาสตร์จะนำเด็กไปสู่ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก
สมองมีหน้าที่ซึมซับข้อมูลที่เรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือและเครื่องมือที่ใช้คือการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ทำแล้วจะต้องมีความสุข


ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์แบ่งได้เป็น 3 ขั้นใหญ่ๆ คือ
1.ขั้นการเรียนรู้จากการกระทำ (Enactive Stage) ⏩ ใช้ประสาทสัมผัสรับรู้โดยผ่านการกระทำ
2.ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage) ⏩ สร้างมโนภาพในใจได้
3.ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) ⏩ เรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรมได้



แนวทางในการจัดการเรียนการสอน
       บรูเนอร์ได้กล่าวถึงทฤษฎีในการจัดการเรียนการสอนว่าควรประกอบด้วยลักษณะสำคัญ  4 ประการ คือ
1  ผู้เรียนต้องมีแรงจูงใจภายใน มีความอยากรู้ อยากเห็นสิ่งต่างๆรอบตัว
2  โครงสร้างของบทเรียนซึ่งต้องจัดให้เหมาะสมกับผู้เรียน
3  การจัดลำดับความยาก-ง่ายของบทเรียนโดยคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
4  การเสริมแรงของผู้เรียน

            

คำศัพท์
  1.   Number           ตัวเลข                  
  2.   Matching         การจับคู่ 
  3.   Comparing      การเปรียบเทียบ 
  4.   Counting          การนับ 
  5.   Overlap            การทับซ้อน


การประเมิน

 ประเมินอาจารย์     อาจารย์ได้เปิดโอกาศให้นักศึกษาได้มีส่วนรวมในการเเสดงความคิดเห็นในด้านต่างๆเเละได้บอกถึงเทคนิคในการทำงานต่างๆให้นักศึกษาฟังอย่างระเอียด
 ประเมินตนเอง      ตั้งใจฟังอย่างตั้งใจอาจมีเล่นโทรศัพท์บางที
 ประเมินเพื่อน        เพื่อนตั้งใจฟังเเละตอบคำถามได้อย่างดี





วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2





บันทึกการเรียนครั้งที่ 2 
วันจันทร์ ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 น.


เนื้อหาที่เรียน
            
           นิยามของคำว่า พัฒนาการ             ความสารถของเด็กที่เด็กเเสดงออกในเเต่ล่ะลำดับอายุ

          มีลักษณะอย่างไร                      เป็นลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องดั้งนั้นถ้ามีปฏิสัมพันธ์ที่ดีจะไปสนับสนุนให้พัฒนาการในเเต่ล่ะขั้นเเต่ละระดับอายุของเด็กมีคุณภาพ



        ♡   ตัวอย่างพัฒนาการเป็นลำดับขั้น   คว่ำ  คืบ  คล้าน  นั้ง   ยืน  เดิน      ♡


             พัฒนาการรู้เพื่อ จะได้จัดประสบการณ์ให้เเก่เด็ก  คือ  การสร้างกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือทำด้วยตนเองโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เรียกว่า วิธีการที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้หรือการเปลี่ยนเเปลงพฤติกรรม สัมผัสกับสิ่งเเวดล้อมวัตถุ เลือกเเละตัดสินใจด้วยตนเองอย่างมีความสุข
 การเรียนรู้  คือ เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม


 ตัวอย่าง
         เมื่อเด็กมีตุ๊กตาเเมวหนึ่งตัวซึ้งมีตามีจมูกร้องเมียวๆเด็กจะเกิดการซึมซับกับตุ๊กตาตัวนี้มากเพราะเด็กได้ไกลชิดพอวันหนึ่งเด็กไปบ้านคุณยาย และมีสิ่งที่มีลักษณะที่คล้ายกับตุ๊กตาตัวที่เด็กมีเด็กจึงเข้าไปเล่น กับสิ่งนี้สิ่งที่เกิดขึ้นคือ ตุ๊กตาเเมวตัวนี้มีชีวิตเเละหันมาตะขบเด็ก เด็กจะเกิดความกลัวพร้อมเกิดการเรียนรู้ใหม่ว่า บางสิ่งบางอย่างที่มีลักษณะคล้ายๆกันก็อาจจะทำให้เราเจ็บได้ ซึ้งทั้งหมดนี้จะผ่านกระบวนการของสมองจนเกิดการเรียนรู้เปลี่ยนเเปลงเลือกที่จะไม่เข้าไกล้เมื่อเจออีก



ทฤษฎีของเพียเจต์

  1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage)  เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี
  2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage)  เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี
  3. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage)  เริ่มจากอายุ 7-11 ปี
  4. ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage)   เริ่มจากอายุ 11-15 ปี

        พัฒนาการทางการรู้คิดสติปัญญาของเด็กนั้นในช่วงอายุ 6 ปีแรกเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็น ประสบการณ์สำคัญที่เด็กควรได้รับการส่งเสริม มี 6 ขั้น


คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
  1. Parenting                    การอบรบเลี้ยงดู
  2. Talented                      มีความสามารถ     
  3. Experience                 การจัดประสบการณ์
  4. Development              พัฒนาการ  
  5. Recognition                การรับรู้



การประเมิน  

                      ประเมินตนเอง      ตั้งใจฟังกับสิ่งที่สอนเป็นอย่างดีอาจจะมีบางครั้งที่คุยกับเพื่อน
                      ประเมินเพื่อน        เพื่อนตั้งใจฟังเเละให้ความร่วมมือในการมีส่วนร่วม
                      ประเมินอาจารย์    อาจารย์ได้อธิบายถึงงานอย่างชัดเจนอย่างระเอียดเเละอธิบายเนื้อหาที่สอนอย่างเข้าใจง่าย

วันจันทร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1




บันทึกการเรียนครั้งที่ 1 
วันจันทร์ ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 น.


เนื้อหาที่เรียน

                       เนื่องจากวันนี้เป็นการเรียนการสอนในสัปดาห์เเรกของการเปิดเรียนในภาคเรียนที่  2 ซึ้งในวันนีเอาจารย์ก็ได้อธิบายถึงงานที่มอบหมายเเละเกี่ยวกับรายวิชานี้ให้นักศึกษาได้เตรียมตัวในการทำงานงานในกลุ่มรายวิชามีดังนี้  
  1. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
  2. บทความที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
  3. งานโทรทัศน์ครู
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
  1. Learning                    การเรียนรู้
  2. Thinking                    การคิด
  3. The decision              การตัดสินใจ
  4. The analysis               การวิเคราะห์
  5. Research                    วิจัย
การประเมิน

                      ประเมินตนเอง      เนื่องจากในสัปดาห์นี้เข้าเรียนในรายวิชานี้ไม่ทันเพราะต้องไปเพิ่มถอนรายวิชา เเต่ก็ได้สอบถามถึงเรื่องงานที่อาจารย์ได้มอบหมายไว้
                      ประเมินเพื่อน        เพื่อนตั้งใจฟังเเละสามารถนำมาอธิบายให้กลุ่มที่เข้าเรียนไม่ทันได้เข้าใจถึงงานที่ได้รับมอบหมาย
                      ประเมินอาจารย์     อาจารย์ได้เปิดโอกาศให้นักศึกษาได้มีส่วนรวมในการเเสดงความคิดเห็นในด้านต่างๆเเละได้บอกถึงเทคนิคในการทำงานต่างๆให้นักศึกษาฟังอย่างระเอียด