วันพุธที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ที่ 14

บันทึกการเรียนครั้งที่ 14


บันทึกการเรียนครั้งที่ 14 
วันอังคาร ที่  5  พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 น.






เนื้อหา
เนื้อหารสาระวิชา จัดประสบการ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
คณิตศาสตร์ประกอบด้วย 6 สาระ

  1. จำนวนและการดำเนินการ  
  2.  การวัด 
  3.  เรขาคณิต  
  4.  พีชคณิต  
  5.  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 
  6.  ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สาระที่ควรรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
  1. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
  2. บุคคลเเละสถานที่
  3. สิ่งต่างๆไรอบตัว
  4. ธรรมชาติรอบตัว
เด็กมีวิธีการเรียนรู้โดยการเล่น เล่นโดยผ่านประสบการณ์ทั้ง 5 ตาดู หูฟัง จมูกดมกลิ่น ลิ้นชิมรส ผิวสัมผัสได้เลือกเเละตัดสินใจด้วยตนเองอย่างมีความสุข ถึงจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้

 สิ่งที่ต้องศึกษา
1  การจัดประสบการณ์ จะจัดอย่างไรใช้เทคนิคอย่างไร มีการนำสื่ออะไรมาใช้
2  คณิตศาตร์ประกอบไปด้วยกี่มาตรฐาน มีกี่สาระการเรียนรู้ เเละเด็กได้อะไร
3  เด็กปฐมวัยเเต่ละช่วงอายุ มีลักษณะพัฒนาการเเละความสามารถเป็นอย่างไร เช่น มีลักษณะเเสดงถึงการเปลี่ยนเเปลงไปตามขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
***นิยามความหมายของพัฒนาการ คือ ความสามารถของเด็กเเต่ละช่วงอายุ***

สาระในการจัดประสบการณ์นำมาจาก สาระการการเรียนรู้ของหลักสูตร์
- สร้างวัตถุประสงค์
- สร้างองค์ความรู้ ว่าเราจะสอนในเรื่องอะไร
- กำหนดประสบการณ์สำคัญ หาทุนลอย
      **ความรู้ ทักษะที่เกิดขึ้นกับตัวเด็ก เช่น ทักษะทั้ง 4 ด้าน
     1 ทักษะด้านร่างกาย   กล้ามเนื้อมัดใหญ่เเละกล้ามเนื้อมัดเล็กเเละร่วมถึงรักษาสุขภาะอานามัย
     2 ทักษะด้านอารมณ์    เล่นร่วมกับเพื่อนได้เเละช่วยเหลือตนเอง
     3 ทักษะด้านสังคม-จิตใจ  เเสดงความรู้สึกตามสถานะการณ์
     4 สติปัญญา     การคิดสร้างสรรค์ / คิดเป็นระบบ /คิดเป็นเหตุผล / ภาษา การฟังพูดอ่านเขียน / คณิตศาสตร์ จำนวนเเลวิทยาศาสตร์
- กำหนดกิจกรรม ออกแบบเขียนเเผน เราจะต้องอาศัยเทคนิคต่างๆเพื่อที่จะดึกดูดความสนใจเเละ ให้เด็กเกิดความสนุกสนาน เช่น นิทาน คำคล้องจ้อง เพลง เกม คำถาม ปริศนาคำทาย เเละสื่อจะเป็นสื่อที่เป็นของจริง เป็นภาพ เป็นสัญลักษณ์ ก็ได้ **เด็กจะเรียนรู้จากสื่อที่เป็นของจริงสู่ภาพเเละไปเป็นสัญลักษณ์**
- บรูณาการ
    ขั้นนำ   **ควรทำให้เด็กเกิดความสนใจอยากรู้อยากเห็นใช้เทคนิคต่างๆที่น่าสนใจ** 
    ขยายประสบการณ์
    สรุปทบทวน
**การฝึกฝนเป็นวิธีการที่ไม่หมาะสมกับเด็กปฐมวัยเพราะว่า การฝึกฝนจะทำให้เด็กเเค่การจำเเละความชำนาญทำให้ไม่สอดคล้องกับ วิธีการ เรียนรู้ของเด็ก เพราะเด็กเรียนรู้ผ่านการเล่นการลงมือทำการสัมผัส ในสิ่งที่เด็กได้เลือกตัดสิ้นใจ
**การจัดทำสื่อควรคำนึกถึงการใช้งาน เล่นได้หลากหลาย ความทนเเข็งเเรง 


วันพุธที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13


บันทึกครั้งที่ 13
วันจันทร์ 27 เมษายน 2563 เวลา 08:30-12:30 น
เนื้อหา
     ทบทวนแผนการเรียนรู้เดิมในเเต่ล่ะกลุ่ม ชี้ให้เห็นว่ามผิดพลาดมากขึ้น เเละไขอย่างตรงจุดก่อนที่จะส่งเพราะยังมีข้อผิดพลาดบ้างส่วน 
สอนเรื่องการสอนเด็กในวันอังคาร เรื่องลักษณะ ต้องทำเป็นลำดับขั้นตอนของการสอน
             1.ตั้งปริศนาคำทายให้เด็กตอบ และถามชื่อของ  หน่วยนั้นๆ เช่น ชื่อกล้วยชนิดต่างๆ
             2.ให้เด็กลองสังเกตลักษณะด้วยตาของเด็กเองก่อน เช่น รูปทรงเเละสี เป็นลำดับแรก ถามเด็กและเมื่อเด็กตอบบันทึกลงในตารางหรือกราฟที่ทำ
             3.ให้เด็กได้ลองสัมผัสพื้นผิว ดมกลิน และชิม พร้อมถามเด็กและบันทึกลงในตารางหรือกราฟ
             4.ต้องมีการสรุป เเต่ละหน่วยแต่ละชนิดมีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
(ใช้ลักษณะของปากาเเทน หน่วย ผลไม้ในการอัดคลิป)



คำศัพท์ 
1.  Luck           ลักษณะ
2.  Interview    สัมผัส
3.  Rrcord        บันทึก

ประเมิน
ประเมินอาจารย์  อาจารย์พยายามที่จะอธิบายเป็นรายกลุ่มเเละเเนะนำวิธีอย่างระเอียดเข้าใจจะได้นำไปปรับเเก้ได้
ประเมินเพื่อน     เพื่อนมีความตั้งใจเรียนเเละถามเมื่อสงสัย
ประเมินตนเอง    จดข้อเเก้ไขตั้งใจอย่างดี

วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2563

วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12



 เนื้อหา 
                            เริ่มต้นการเรียนด้วยเพลงที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ว่าเนื้อหาเพลงนี้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ กับเด็กอย่างไร
เพลง  หนึ่งปีมีสิบสองเดือน   เพลงจัดเเถว  เพลงเข้าเเถว

 เพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน   ให้รู้ถึง วันหนึ่งมี 24  วันในสัปดาห์ 1 มี 7 วัน   1 ปี มี 12  เดือน วันพรุ่งนี้วันนี้  เทศกาล ใน 1 ปี ในเเต่ล่ะเดือน
 เพลงจัดเเถว เพลงเข้าเเถว   การเปรียบเทียบ  รู้ถึงลำดับก่อนเเละหลัง ทิศทาง เท่ากับเสมอกัน 






และทบทวนเนื้อหากับเรื่องเเผนการเเก้เเผนการเเก้ไขเนื้อหาเพิ่มเติม   การใช้คำสะท้อนการเรียนรู้เพิ่มเติมในเนื้อหา   คำว่า  บอก  อธิบาย  นำเสนอ  วาด  ปั้น  ประดิษฐ์  วิพากษ์ 

พร้อม ให้ปรับเเก้แผนระหว่างพักพร้อมให้เตรียมอุปกรณ์ที่จะให้สอนเป็นตัวอย่าง 
มี อุปกรณ์ เเละขั้นตอนการสอนดั้งนี้  สิ่งของที่เหมือนกัน 4 ชิ้น  3 ชิ้น  2 ชิ้น  เเละเอากระดาษตัดเป็นวงกลมเขียนเลข 9 ติดไว้กับไม้  ข้าวสารใส่ในเเก้ว กระดาษเอ 4   


ขั้นตอนการสอน 
1.  เพลง                             เครื่องเขียน                 เครื่องเเขน 
                                 มีหลายชนิด                         ปากา  ดินสอสี
                                     เด็ก เด็ก รู้มั้ยหน้อ            เครื่องเขียนมีหลายชนิด
( ร้องให้เด็กฟังก่อน,เด็กร้องตาม,เเละครูเเละเด็กร้องพร้อมกัน )

2.  ถามกับเด็ก ว่าในเพลงพูดถึงเครื่องเขียนอะไรบ้าง  /นำไปทำ My map ว่าเด็กๆตอบว่าอะไร
3.  นำเเก้วใส่เครื่องเขียนให้เด็กๆได้ดู พร้อมตั้งคำถามเด็ก  เด็กๆว่าในเเก้วมีเครื่องเขียนทั้งหมดกี่เเท่ง
4.  หยิบเครื่องเขียนมาทีละอัน พร้อมบอกว่า ที่หยิบมานั้นเป็นอะไรเเละนับเลขระหว่างนับ /ปากาหรือดินสอ 
5.  พร้อมถามกับเด็กว่า  มีเครื่องเขียนทั้งหมดกี่เเท่ง?  /พร้อมบอกเด็กๆว่าขอตัวเเทนที่จะไปหยิบตัวเลขที่สัมพันกันกับที่เรานับเครื่องเขียนเมื่อสักครู่
/หยิบตัวเลขมาปักไว้ที่ด้านหลัง ปากาหรือดินสอ
6.  จัดหมวดหมู่โดยใช้เกณฑ์เครื่องเขียนที่เป็นปากา /กลุ่มปากา /ใช้เกณฑ์อื่เเทนได้
ครูขอตัวเเทนออกมาหยิบปากาออกไปหน่อยได้มั้ยค่ะ/หยิบออก
 (พร้อมบอกว่านี้คือกลุ่มที่เป็นปากาเเละไม่เป็นปากา)
7. ถามเด็กว่า เด็กๆลองดูสิว่ากลุ่มไหนมีจำนวนมากกว่ากัน /เด็กตอบ...เอ๊ะเรามาดูว่ากลุ่มไหนมากกว่ากัน
8. ขอตัวเเทนมาหยิบออกมาหยิบ 1:1  /หยิบออกไปเรื่อยๆจนเหลือ 1 เเท่ง เเละจะเหลื่อจำนวนเครื่องเขียนที่มากกว่าหรือน้อยกว่า  
9. นำ My map ที่เขียนตอนเเรกมาให้เด็กทบทวนว่ามีเครื่องเขียนอะไรบ้าง
  คำศัพท์  
1. Draw         วาด 
2. Science     อธิบาย
3. Lead         นำเสนอ
4. Artificial   ประดิษฐ์
5. My map    ผังความคิด


ประเมิน
ประเมินอาจารย์        อาจารย์พูดเร็วเป็นบางครั้งเเต่อาจารย์ทบทวนเเละถามทุกครั้งเเละมอบหมายงานทำให้เข้าใจเเละเห็นภาพมากขึ้น
ประเมินเพื่อน            ตั้งใจฟังเเละตอบคำถามอย่างตั้งใจ
ประเมินตนเอง          ไม่ค่อยเข้าเเต่พยายามถามเพื่อนเเละอาจารย์ซ้ำๆตลอด 



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11





บันทึกการเรียนครั้งที่  11 
วันจันทร์ ที่ 13  เมษาคม   พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 



เนื้อหาที่เรียน 

  สอนเพิ่มเกี่ยวกับการเเก้ไขเเผนการจัดประสบการณ์จากสัปดาห์ที่เเล้วเนื่องจากต้องเพิ่มเติมเนื้อหาเเต่ตารางการเปรียบเทียบเพื่อให้เข้าใจง่ายมากขึ้นหรือให้สอนง่ายขึ้น

     เนื้อหา นั้นเราต้องสอนให้เด็กได้รู้อะไร ทำอะไร สาระที่เด็กควรได้รับต้องสอดคล้องกันทั้งหมด        

  ขั้นสอนเราต้องเพิ่มเติมคือ พูดถึงสัดส่วนต่างๆให้มากขึ้น (สันส่วนของหน่วย เช่นหน่วยกล้วย สัดส่วนของกล้วยมีอะไรบ้าง ) เเละมอบหมายให้ไปเเก้ใขข้อมูลให้ถูกต้อง


คำศัพท์
1. Assign.       มอบหมาย
2. Modify        เเก้ไข 
3. More           เพิ่มเติม
4. Matter         สาระที่ได้รับ
5. Correct.      ถูกต้อง



การประเมิน
ประเมินอาจารย์   อาจารย์สอนเร็วบางทีเเละให้นักศึกษามีสวนร่วมถามตอบไม่ให้น่าเบื่อค่ะ
ประเมินเพื่อน      ตั้งใจตอบคำถามเเละมีส่วนรวมกับอาจารย์ทุกครั้ง
ประเมินตนเอง     ตั้งใจเเละจดเนื้อหาที่จะต้องปรับเเก้อย่างตั้งใจ




วันอังคารที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

บันทึกการเรียนครั้งที่ 10


บันทึกการเรียนครั้งที่ 10 
วันจันทร์ ที่  30  มีนาคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 น.

เนื้อหาที่เรียน 
       เเก้เเผนการจัดประสบการณ์จากเดิมให้มีเนื้อหาสาระเข้ามาเพิ่มเติมจากที่ไม่สมบรูณ์
                         ****  ออกแบบให้เหมาะสมกับพัฒนาการเเละวิธีการของเด็ก  *****
เเผนการจัดประสบการณ์ หน่วยกล้วย

สาระการเรียนรู้มาจาก    
   - หลักสูตร (ประกอบด้วย)  
      1. ประสบการณ์สำคัญ
      2. สาระที่ต้องเรียนรู้ 

ประสบการณ์สำคัญ   
    -  นำมาจากหลักสูตร์และนำมาปรับให้เข้ากับหน่วยการเรียนรู้ของตนเองอย่างเหมาะสม

 เนื้อหา  
      - เด็กได้เรียนรู้อะไรทำอะไรได้บางจากการจัดประสบการณ์ในหน่วยนี้

 ขั้นนำ  
        -  เป็นการนำเด็กเข้าสู่เนื้อหา เช่น เเผนจัดประสบการณ์วันศุกร์ นำเด็กเข้าสู่อุปกรณ์ของการทำกล้วยบวชชีพูดคุยเเละตั้งคำถามที่เด็ก  สามารถเเสดงความคิดเห็นยอดกลับไปสู่ความรู้เดิมให้เกิดความรู้ใหม่ได้  เช่น  นอกจากนำกล้วยมาทำกล้วยบวชีเด็กๆคิดว่าสามารถนำมาทำอะไรได้อีก  อุกรณ์เหล่านี้เราจะนำมาทำอะไร อาจมีการนำเกม นิทาน ปริศนาคำทาย เข้ามาใส่ในเเต่ล่ะวัน ให้เด็กเกิดอยากตื่นเต้นอยากเรียนรู็ 

  ขั้นสอน 
       - พูดถึงเนื้อหาที่จะทำ สัดส่วนต่างๆ
       - เด็กได้ลงมือทำ
       - สามารถเเบ่งกลุ่มได้ (ถ้ากรณีที่เด็กเยอะเเละผู้ดูเเลเพียงพอ)
 ขั้นสรุป 
       - ครูเเละเด็กทบทวนต่างๆ

 สื่อเเละเเหล่งเรียนรู้
       - เเต่ล่ะวันก็จะเเตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะนิทาน  เพลง รูปภาพประกอบ อุกรณ์ต่างๆ 

การวัดผลประเมินผล
       - เด็กเกิดการพัฒนาอย่างไรบ้าง
การบูรณาการ
       - จากหน่วยการเรียนรู้การจัดประสบการณ์เด็กได้อะไรจากการบรูณาการในสาระคณิตสตร์ เช่น การเปรียบเทียบ  ขนาด  การคาดเดา  รูปร่างรูปทรง อื่นๆ

   เเผนที่ปรับเเก้   

 -ปรับเเก้ตรงเนื้อหาที่ต้องเพิ่ม   เพิ่ม 6 กิจรรม ซึ่งเเผนเดิมไม่มีทั้ง 6 กิจกรรม 
 -กลางเเจ้ง  เคลื่อนไหวจังหวะ  สร้างสรรค์   เกมการศึกษา  เเละกิจกรรม เสรี
 -เนื้อหาสาระ เเก้ไขให้ถูกต้องเข้ากับหน่วยเเละการสอน  

  คำศัพท์  
1.  Tale       นิทาน
2.  Course of  study  หลักสูตร   
3.  Previous konwledge  ความรู้เดิม
4.  Learning unit    หน่วยการเรียนรู้
5.  Substance        สาระการเรียนรู็

  ประเมิน  
ประเมินอาจารย์   สอนได้ดีค่ะพยายามอธิบายเรื่องที่นักศึกษาไม่เข้าใจเเละให้นักศึกษามีส่วนร่วม
ประเมินเพื่อน       ตั้งใจตั้งใจฟังอาจารย์
ประเมินตนเอง      ตั้งใจฟังเเละจดเท่าที่ทันหรือเข้าใจเนื่องจากปัญหาจากโทรศศักพ์ร้อน บางแบตจะหมดในบางทีเลยจะต้องว่างไว้หรือเพิ่มเเบตในเวลาเรียนอาจจะสนใจไม่พอ



บันทึกการเรียนรู้ที่ 14

บันทึกการเรียนครั้งที่ 14 บันทึกการเรียนครั้งที่ 14  วันอังคาร ที่  5  พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 น. เนื้อหา เนื...